ดอลลาร์แข็งค่าเทียบเยน 105 เยน เหตุนลท.ขายเยนหลังหุ้นโตเกียวพุ่งทะลุ 30,000 จุด
สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยบริเวณระดับกลางของช่วงการซื้อขายที่ 105 เยน เนื่องจากนักลงทุนได้ขายเงินเยนซึ่งเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย หลังจากดัชนีนิกเกอิตลาดหุ้นโตเกียวปรับตัวขึ้นต่อเนื่องจากเมื่อวานนี้หลังแตะระดับ 30,000 จุดเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 30 ปี
สำนักข่าวเกียวโดรายงานว่า ณ เที่ยงวันนี้ตามเวลาโตเกียว ดอลลาร์เคลื่อนไหวที่ 105.55-105.56 เยน เทียบกับ 105.35-105.45 เยนที่ตลาดลอนดอนเมื่อเวลา 16.00 น. และ 105.17-105.18 เยนที่ตลาดโตเกียวเมื่อเวลา 17.00 น. ของเมื่อวานนี้ ขณะที่ตลาดเงินสหรัฐปิดทำการเมื่อวานนี้เนื่องในวันหยุด
ยูโรเคลื่อนไหวที่ 1.2144-1.2148 ดอลลาร์ และ 128.19-128.23 เยน เทียบกับ 1.2130-1.2140 ดอลลาร์ และ 127.80-127.85 เยนที่ตลาดลอนดอน และ 1.2132-1.2133 ดอลลาร์ และ 127.59-127.63 เยนที่ตลาดโตเกียวในช่วงเย็นวานนี้ ufa
Dollar Index คือ ดัชนีวัดค่าของเงินดอลลาร์ สรอ. ซึ่งเริ่มใช้มาตั้งแต่ปี 1973 โดยถ่วงน้ำหนัก ด้วยเงิน 6 สกุลหลัก
โดยเงินยูโรที่ 57.6% เงินเยนที่ 13.6% และ เงินปอนด์ที่ 11.9% ที่เหลือคือ เงินดอลล์แคนาดา เงินโครนาสวีเดน และ เงินฟรังก์ของสวิส
ขณะที่เขียนอยู่นี้ Dollar Index ยืนอยู่ระดับ 84 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบปี มีผลทำให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งล้วนแต่กำหนดราคาเป็นเงินดอลลาร์ สรอ.ทั้งสิ้น มีราคาตกต่ำลงทั้ง ทองคำ เงิน ทองแดง น้ำมัน รวมไปถึงสินค้าเกษตร เช่น ยาง ข้าวสาลี กาแฟ เป็นต้น
เมื่อย้อนดูอดีตโดยปกติแล้วค่าเงินดอลลาร์จะยืนอ่อนค่าเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็พบว่า Dollar Index มีการปรับเป็นขาขึ้น 2 ช่วงใหญ่ๆ คือ ปี 1980-1985 โดยวิ่งจาก 85 ไปราว 165 และ ปี 1995-2000 โดยวิ่งจาก 80 ไปราว 120 แล้วเกิดปัญหาอะไรกับไทยในช่วงนั้นบ้าง…
คำตอบก็คือ เงินบาทของไทยที่ผูกกับเงินดอลลาร์นั้น เปรียบเสมือนกับเด็กๆ ที่ต้องวิ่งตามคนโตยักษ์ใหญ่อย่างอเมริกาที่มีกำลังวังชาดีโดยเขาแทบไม่มีปัญหาอะไรในการปีนขึ้นเขา แต่ประเทศเด็กๆ เล็กๆ อย่างไทยต้องวิ่งตามไปให้ทัน เพราะ ผูกค่าเงินกันไว้ หากดอลลาร์เป็นช่วงลงเขานี่เงินบาทของไทยเราเกาะตามไปสบายมากๆ แต่เมื่อเป็นขาขึ้นเขาของ Dollar Index แล้วละก็ ผลลัพธ์ก็คือเงินบาทจะวิ่งตามไปไม่ไหว หมดแรงเป็นลม ล้มกลิ้งลงมาจนได้รับบาดเจ็บหนัก โดยในปี 1984 ไทยต้องลดค่าเงินบาทลงราว 15% และ ปี 1997 ก็เกิดวิกฤติต้มยำกุ้ง ค่าเงินบาทต้องอ่อนค่าลงมาถึงกว่า 50%
ญี่ปุ่นได้เปลี่ยนเกมการเงินโลกใหม่ทั้งหมด แทนที่จะให้อเมริกาเป็นประเทศเดียวที่สามารถจะพิมพ์เงินไม่จำกัด เพื่อให้ดอลลาร์อ่อนค่าลง ซึ่งจะส่งผลช่วย GDP ของโลกโดยรวม เพราะ สินค้าเกือบทุกอย่างวัดค่าเป็นเงินดอลล์กันทั้งนั้น ญี่ปุ่นมีเป้าหมายในการเพิ่มฐานเงินขึ้นถึง 2 เท่าภายใน 2 ปี จาก 135 ล้านล้านเยน เป็น 270 ล้านล้านเยน ซึ่งก็น่าฉงนอย่างมาก เพราะ นั่นคือ การฉีกกฎกติกาการเงินระหว่างประเทศโดยสิ้นเชิง เพราะ ทุนสำรองระหว่างประเทศของญี่ปุ่นซึ่งควรจะมีเพียงพอเพื่อใช้หนุนหลัง “ฐานเงิน” นั้นกลับมีอยู่เพียง 1.26 ล้านล้านดอลล์เท่านั้นเอง ซึ่งเห็นได้ชัดว่าไม่พอแน่ๆ
ดังนั้น เพื่อไม่ให้ซ้ำรอยกับ 2 ครั้งก่อน หากค่าเงินดอลล์ยังแข็งค่าไปเรื่อยๆ อาจวิ่งสู่ระดับสูงกว่า 90 จุดก็เป็นได้ เมื่อนั้น ธปท.ควรแสดงจุดยืนชัดเจนว่าพร้อมทำวิถีทางเพื่อให้เงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์ ไม่ใช่แค่ประคองยืนๆ ไว้ที่ 29-30 บาท แต่พร้อมจะทำให้เงินบาทอ่อนค่าลงไปที่ระดับ 32 บาทกันเลย เพื่อให้สอดคล้องและแข่งขันได้กับเศรษฐกิจส่วนอื่นๆ ของโลก
ซึ่งก็เป็นไปได้ว่าแค่การลดอัตราดอกเบี้ยลงเล็กน้อย และ การสกัดเงินร้อนระยะสั้นอาจเพียงพอแค่สกัดการแข็งค่าของเงินบาทเท่านั้น แต่การยืมพลังจากแหล่งอื่นๆ เพื่อปั๊มเงินออก ตามแนวคิดของ “เงินบาทไท้เก๊ก” น่าจะช่วยให้บาทอ่อนสู่เป้าหมาย 32 บาท มีโอกาสเกิดขึ้นได้สูงกว่า
ดอลลาร์สหรัฐ (อังกฤษ: United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก[1] รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับ 31.19 บาท (อัตราแลก-เปลี่ยน ณ วันที่ 13 ส.ค. 15:00 UTC)
สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ[2] และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป
ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า “เพนนี” (penny), 5 เซนต์ ว่า “นิกเกิล” (nickel), 10 เซนต์ ว่า “ไดม์” (dime), 25 เซนต์ ว่า “ควอเตอร์” (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า “บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)” (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand)